วันพฤหัสบดีที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

วันศุกร์ที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2553

ปฐมนิเทศน์นักศึกษาใหม่ แนวภาษามลายูและแนวมลายูศึกษา ปีการศึกษา 2553

วันที่ 3 มิถุนายน 2553 นักศึกษาทั้งแนวภาษามลายูและแนวมลายูศึกษาได้เข้าร่วมการปฐมนิเทศน์นักศึกษาใหม่ ในปีการศึกษา 2553 นี้มีนักศึกษาแนวมลายูศึกษาจำนวน 46 คน โดยมีอาจารย์ซาวาวี ปะดาอามีน เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา ส่วนนักศึกษาแนวภาษามลายูมีอาจารย์อับดุลเลาะห์ ขรีดาโอ๊ะเป็นอาจารย์ที่ปรึกษา

อาจารย์ซาวาวี กำลังให้ความรู้แก่นักศึกษาใหม่

นักศึกษาใหม่ได้รับความรู้การเรียนการสอนในมหาวิทยาลัย

อาจารย์ซาวาวี กำลังปฐมนิเทศน์นักศึกษาแนวภาษามลายูและแนวมลายูศึกษา

นักศึกษาแนวภาษามลายูและแนวมลายูศึกษาฟังการปฐมนิเทศน์

อาจารย์อับดุลเลาะห์ กำลังปฐมนิเทศน์นักศึกษาทั้งแนวภาษามลายูและแนวมลายูศึกษา

กำลังฟังด้วยความตั้งใจ

กำลังฟังเกี่ยวกับการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัย

ฟังแล้วเครียด !! ต้องขยันเรียนแล้วหละ ไม่งั้นต้องเก็บเสื้อผ้ากลับบ้านก่อน 4 ปี

ไม่เพียงมาจากสามจังหวัดชายแดนภาคใต้เท่านั้น มีทั้งมาจากจังหวัดสตูล จังหวัดสงขลาด้วย

วันพุธที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2553

มลายูศึกษา คือ อะไร

มลายูศึกษา คือ อะไร
หลายคนอาจมีข้อสงสัยว่า มลายูศึกษาคืออะไร ในที่นี้ขอนำบทความเกี่ยวกับมลายูศึกษาของภาควิชามลายูศึกษา มหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์ ประเทศสิงคโปร์ ซึ่งถือเป็นมหาวิทยาลัยแนวหน้าของโลก ที่ได้มีการอธิบายถึงกรอบของคำว่ามลายูศึกษา ซึ่งเผยแพร่อยู่ในเว็บไซต์ของภาควิชาดังกล่าวมาดังนี้

"We are a small but exciting Department with staff members and visiting fellows studying the peoples and cultures of the Malay world. We adopt a broad definition of the Malay world, referring to the Malay-Indonesian Archipelago consisting of Indonesia, Malaysia, Brunei, southern Thailand and the southern Philippines. It also includes areas with Malay minorities such as Singapore, and countries to which the Malay diaspora had spread such as Sri Lanka, Madagascar and South Africa. Our research and teaching programme revolves around three core areas: social development and political economy, literature and history"


และได้อธิบายถึงความเป็นมาของภาควิชามลายูศึกษาในมหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์ว่ามีความเป็นมาอย่างไร ดังปรากฎในเว็บไซต์ภาควิชามลายูศึกษาของมหาวิทยาลัยดังกล่าว ได้ดังต่อไปนี้

WHAT IS MALAY STUDIES?
"The Department of Malay Studies at the National University of Singapore produces undergraduate and graduate students of high quality with broad knowledge of the developments and problems in the Malay world of Southeast Asia and beyond. The department also actively engages in research on a wide range of issues concerning the Malay world from a multi-disciplinary perspective, promotes exchanges with centres of Malay studies worldwide, and encourages the development of new and alternative approaches to the understanding of Malay history, economy, politics, society and culture.

A department to promote Malay Studies was established at the University of Malaya, Singapore in the 1952/53 session on the recommendation of the Commission for University Education in Malaya. Za'ba (Zainal Abidin Ahmad) was the first head of department, followed later by Dr R. Roolvink. Following the independence of Malaya and the establishment of a separate University in Kuala Lumpur, the Department was transferred to Kuala Lumpur. Meanwhile, on January 1, 1962 the Singapore Division of the University of Malaya was re-established as the University of Singapore (renamed the National University of Singapore in 1980). On March 1, 1967, the Department of Malay Studies was re-established in Singapore with Prof Dr Syed Hussein Alatas as Head of Department.

The Department has always adopted a broad definition of the Malay world. This refers to the Malay-Indonesian Archipelago consisting of Indonesia, Malaysia, Brunei, southern Thailand and the southern Philippines. It also includes areas with Malay minorities such as Singapore, and countries to which the Malay diaspora had spread such as Sri Lanka, Madagascar and South Africa.

Currently, teaching and research in the Department revolves around three core areas: social development and political economy, history and literature/linguistics. In each of these core areas, attention is also paid to Islam in terms of its historical development in the Malay world, its interaction with social and political processes, and its various intellectual and literary expressions.

Students in the Department are exposed to the various aspects of Malay world not only through the teaching programme and the research activities of the academic staff, but also through intensive study tours that take students to the region and beyond.

The Department's program is an integral part of the arts degree offered by the Faculty of Arts and the Social Sciences, where students combine Malay Studies with other programs and subjects of studies according to their choice. In view of this, in general the career prospects of Malay Studies students are equal to other students. Nevertheless, students of Malay Studies enjoy particular advantage in careers requiring an intimate and in depth understanding of the Malay/Muslim world of Southeast Asia, be it in the private or public sector. To boot, students of Malay Studies would also be in a good position to appreciate the dynamics of Muslim societies beyond the region.

Our graduates have gone on to careers in a wide range of areas including the corporate sector, foreign and civil service, journalism, translation, communications and education."


จากข้อความดังต้นจะเห็นได้ว่า ภาควิชามลายูศึกษาจัดตั้งขึ้นครั้งแรกในมหาวิทยาลัยมาลายา วิทยาเขตสิงคโปร์ (มหาวิทยาลัยมาลายามี 2 วิทยาเขต คือสิงคโปร์ และกัวลาลัมเปอร์) เมื่อมีการแยกมหาวิทยาลัยทั้ง 2 วิทยาเขตเป็นอิสระต่อกัน มหาวิทยาลัยมาลายา ในสิงคโปร์จึงเปลี่ยนชื่อเป็นมหาวิทยาลัยสิงคโปร์ ส่วนมหาวิทยาลัยมาลายาในกัวลาลัมเปอร์ คงใช้ชื่อเดิม และภาควิชามลายูศึกษาที่ตั้งอยู่ที่สิงคโปร์จึงโอนย้ายไปยังมหาวิทยาลัยมาลายา กัวลาลัมเปอร์ ต่อมามีการจัดตั้งภาควิชามลายูศึกษาขึ้นมาใหม่ในมหาวิทยาลัยสิงคโปร์ ซึ่งต่อมามหาวิทยาลัยนี้ได้เปลี่ยนชื่อเป็นมหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์ ความสัมพันธ์ระหว่างมหาวิทยาลัยมาลายากับมหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์นั้น มีการร่วมงานที่เป็นความสัมพันธ์ทั้งทางวิชาการ วัฒนธรรม และการกีฬามาตลอด แม้แต่ปัจจุบัน รศ. ดร. ชาฮารุดดิน มาอารุฟ อดีตหัวหน้าภาควิชามลายูศึกษาแห่งมหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์เอง ก็ประจำอยู่ที่สถาบันมลายูศึกษาในมหาวิทยาลัยมาลายา สำหรับนักวิชาการมลายูศึกษาในประเทศไทยเอง ส่วนใหญ่ก็ได้รับการศึกษาจากมหาวิทยาลัยมาลายา ประเทศมาเลเซีย

การวิวัฒนาการของมหาวิทยาลัยมาลายา และมหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์